ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

เหตุผลที่ทำไมภาษาโปรแกรมมิ่ง D ถึงเป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับการพัฒนา

ผมได้ไปอ่านบทความ 5 reasons the D programming language is a great choice for development เจอประเด็นน่าสนใจสองสามประเด็นดังนี้

ตัวแปรกับภาษา D

ตัวแปรกับภาษา D

ตัวแปร (Variable) ใช้ในการพักข้อมูลบางอย่างก่อนที่จะนำข้อมูลนั้นไปใช้งานอื่น ๆ ต่อไป

กฏในการตั้งชื่อตัวแปรในภาษา D จะคล้าย ๆ กับภาษาซีดังนี้
  1. อย่าเอาตัวเลขนำหน้า
  2. อย่าตั้งชื่อตรงกับคำสงวน
  3. อย่าให้มีเครื่องหมายพิเศษ
  4. ไม่มีช่องว่างในการตั้งชื่อ

คำสงวนภาษา D

คำสงวนภาษา D มีดังนี้

  • asm
  • auto
  • alias
  • bool
  • case
  • catch
  • class
  • dchar
  • delegate
  • final
  • finally
  • foreach
  • goto
  • import
  • interface
  • return
  • scope
  • struct
  • switch
  • try
  • version
  • with
  • while

การประกาศตัวแปรในภาษา D

ในการประกาศตัวแปรในภาษา D เหมือนกับภาษาซีดังนี้
import std.stdio;

void main()
{
 int a; // ประกาศตัวแปร a เป็นข้อมูลชนิด int จำนวนเต็ม
 a = 5; // ตัวแปร a คือ  5
 write("Num : ",a);
 char b[2]; // ประกาศตัวปร b เป็นข้อมูลชนิด char เก็บข้อมูลสตริงจำนวน 2 ตัว (16 บิต)  ตาม UTF-8
 b = "ok"; // ตัวแปร b เก็บ ok
 write(b);
}

คอมไพล์ออกมาจะได้ผลลัพธ์
Num : 5ok

ขอบคุณครับ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ภาษา D คืออะไร

ภาษา D เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่ง ใช้ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นภาษาชนิดคอมไพเลอร์โดยรับช่วงต่อมาจากภาษาซี สามารถนำใช้งานประเภท System Programming และ Performance Programming ได้ และสามารถใช้ libraries ที่เขียนด้วยภาษา C ได้อีกด้วย ไวยากรณ์ของภาษา D  ส่วนใหญ่รับมาจากภาษา C / C++ ชนิดตัวแปรคล้าย ๆ กับภาษา Python นามสกุลของภาษา D คือ .d หน้าหลักภาษา D dlang.org

Coedit IDE ของภาษา D

หลังจากที่ผมใช้วิธีการเขียนโปรแกรมภาษา D ด้วย Notepad ธรรมดา ๆ และคอมไพเลอร์โค้ดภาษา D ด้วยคอมมาไลน์โดยใช้ DMD 2 ทำให้เกิดความไม่สะดวกเมื่อต้องการดูโค้ด ผมจึงได้ไปค้นหา พบว่าบนภาษา D มี IDE ที่ชื่อว่า Coedit

เหตุผลที่ทำไมภาษาโปรแกรมมิ่ง D ถึงเป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับการพัฒนา

ผมได้ไปอ่านบทความ 5 reasons the D programming language is a great choice for development เจอประเด็นน่าสนใจสองสามประเด็นดังนี้